วันพฤหัสบดีที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ปัญหาโรคเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน

ปัญหาโรคเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
      หนึ่งในหกของผู้ป่วยเบาหวาน
จะเกิดแผลที่เท้าในช่วงของชีวิต 
แต่ละปีมีผู้ป่วยเบาหวาน 4 ล้านคนทั่วโลก
เกิดแผลที่เท้าทุกๆ 30 วินาที จะมีผู้ป่วย
เบาหวานในโลกนี้ถูกตัดขาหนึ่งราย

ในบรรดาผู้ที่ถูกตัดขา พบว่ามีสาเหตุ
จากโรคเบาหวานได้ถึง 70%
ผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสถูกตัดขามากกว่า
ผู้ที่ไม่เป็นเบาหวาน 40 เท่า

    โรคเท้าเป็นสาเหตุที่สำคัญที่ทำให้ผู้ป่วย
ต้องนอนโรงพยาบาล ผู้ที่ถูกตัดขาหรือเท้า 
ทำให้คุณภาพชีวิตเลวลง
การถูกตัดขามักเริ่มจากการเกิดแผลที่เท้า
การเกิดแผลและการถูกตัดขา 
สามารถป้องกันได้โดยการดูแล
เท้าที่เหมาะสม

UMI  ป้องกันดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 
หลีกเลี่ยงการเป็นแผลที่หายยากหรือติดเชื้อ จนอาจนำมาให้ถูกการตัดนิ้ว หรือตัดเท้า หรือตัดขาได้ด้วย 




คลิ๊กศึกษาเพิ่มเติม 
www.gelsociety.com/baowan

ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ 
โทร:088-9598909
Line ID: joy.rin

วันศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2558

เบาหวาน รักษาไม่หาย จริงหรือ

หมอพูดเสมอว่าใครเป็นเบาหวานแล้ว
รักษาไม่หายขาดแค่ดูแลไปตามอาการจริงเท็จแค่ไหนค่ะ?

ตอบ : 
เมื่อทางการแพทย์แผนปัจจุบัน ได้ตรวจพบว่า 
บุคคลใด มีค่าน้ำตาลเกิน 126 
ก็จะฟันธงว่าเป็นเบาหวาน 

ซึ่งสาเหตุของเบาหวาน เกิดจากการเสื่อมถอย ของร่างกายในอวัยวะสำคัญ คือตับอ่อน และการตื้ออินซูลินของเซลลต่างๆในร่างกาย ซึ่งมีแนวโน้มจะทำให้ค่าน้ำตาลสูงขึ้นเรื่อยๆ ตามอายุที่เพิ่มขึ้น และความเสื่อมที่เพิ่มขึ้น

ดังนั้น ผู้ที่เป็นเบาหวานแล้ว ก็จะต้องทานยาคุมน้ำตาลตลอดชีวิต เพราะความเสื่อมเกิดขึ้นแล้ว คุณหมอจึงพูดเสมอว่า ไม่มีทางหายขาด ให้คุมอาหาร ออกกำลังกาย ทานยาตลอดชีวิต เพราะคนเรามีแต่อายุเพิ่มขึ้น และเกิดความเสื่อมเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน
การดูแลรักษาก็แค่พยุงอาการ โดยเน้นคุมค่าน้ำตาลไม่ให้สูงไปกว่านี้ โดยเน้นแต่ดูค่าน้ำตาลในเลือดเพียงอย่างเดียว

ในทางแพทย์ทางเลือก หรือศาสตรชะลอวัย 
จะใช้สารอาหาร บำรุงและฟื้นฟู 
ความเสื่อมที่เกิดขึ้นโดยตรงกับอวัยวะของเซลล 
ในเคสเบาหวาน คือตับอ่อน จึงทำให้ร่างกายกลับมาหนุ่มสาวมากขึ้น 5-10ปี จึงทำให้อาการของโรคลดน้อย ถอยลง จนเสมือนคนปกติ แต่ก็ยังมีการเสื่อมแฝงอยู่ในร่างกาย 
เมื่อดูแลสุขภาพไม่ดีก็จะกลับมาเป็นเบาหวานได้ไวกว่า
 คนที่ไม่เคยเป็นเบาหวาน

ในเคสที่เห็นจากผู้ใช้ UMI จึงเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่กลับมาสุขภาพดี คุมน้ำตาลได้ง่ายกว่า อวัยวะสำคัญได้รับการฟื้นฟูเฉพาะ เนื่องจาก สารฟูคอยแดน ได้มีคุณสมบัติช่วยกระตุ้น Stemcell ให้ผลิตออกมามากขึ้น
 จึงวิ่งไปช่วยบำรุงฟื้นฟูได้มาก ถึงจะอายุมากแล้วก็ตาม

สรุปง่ายๆ 
ยาคุมน้ำตาล วิ่งไปทำงานกับการลดน้ำตาล
UMI วิ่งไปฟื้นฟูตับอ่อน และเซลลในร่างกาย 
แล้วตับอ่อน ก็จะทำงานปรับสมดุลของน้ำตาล
ตามหลักการของธรรมชาติในร่างกาย คะ

ต้องทดลองทานดูคะ 
จะเห็นผลชัดเจนเหมือนผู้ใช้ UMI ท่านอื่นๆ

UMI ฟื้นฟูตับอ่อน 

รักษาสมดุลน้ำตาล 

ช่วยลดระดับน้ำตาลสะสม HBa1C 


ศึกษาได้ที่  

http://bit.ly/agel-umi-baowan




===================


สนใจสั่งซื้อ/ปรึกษา 

ผู้เชี่ยวชาญ คุณจอยริน

โทร 062-636-9495 

Line : @gelsociety


สั่งซื้อ ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ คุณจอยริน 

คลิ๊กได้ที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติเลยค่ะ http://bit.ly/gelsociety


วันพุธที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2558

ค่า Hba1c เกี่ยวอะไรกับเบาหวาน ??

Hba1c เกี่ยวอะไรกับเบาหวาน ?? 
ค่าที่ควรรู้ เพื่อดูแลห่างไกล 
จากเบาหวาน ??
++++++++++++++


ตรวจสุขภาพเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน 

การตรวจสิ่งเหล่านี้เพิ่ม 
ทำให้ดูแลเบาหวานและป้องกันโรคแทรกซ้อนดีขึ้น

ฮีโมโกลบิน เอ วัน ซี ( Hemoglobin A1C ; Hb A1C ) 
เป็นการตรวจเพื่อดูค่าเฉลี่ยน้ำตาลในช่วง 2 – 3 เดือน
ก่อนตรวจว่าคุมได้ดีเพียงใด

Hemoglobin เป็นสารในเม็ดเลือดแดงที่มีหน้าที่พาออกซิเจนไปส่วนต่างๆ ของร่างกาย เมื่ออยู่ในร่างกาย เมื่ออยู่ในกระแสเลือดจะมีส่วนของฮีโมโกลบินที่มีน้ำตาลมาเกาะเรียกว่า Hb A1C ค่า Hb A1C จะสูงถ้าน้ำตาลในเลือดสูงอยู่ตลอด และจะบอกถึงค่าเฉลี่ยของน้ำตาลในช่วง 2-3 เดือนที่ผ่านมา เนื่องจากเม็ดเลือดแดงมีอายุเพียงประมาณ 120 วัน

จากการศึกษาพบว่า ถ้าคุมเบาหวานให้ดีลด HbA1C ลง 1% 
จะลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนของ ตา ไต เส้นประสาท 
ลงได้ 35% ลดการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้ 14% 
และลดอัตราตายที่เกี่ยวกับโรคเบาหวานได้ 21%

ควรตรวจ HbA1C ปีละ 1-4 ครั้ง เพื่อประเมินผลการควบคุม
เบาหวาน โดยถือว่าการควบคุมเบาหวานที่ดี 
ควรมีระดับ Hb A1C ไม่เกิน 7% และจะดีมาก
ถ้าคุมให้ลดได้ถึงน้อยกว่า6%

ไต อาจประเมินปีละ 1 – 2 ครั้ง 
โดยเฉพาะถ้าเป็นเบาหวานมานานเกิน 5 ปี 
โดยตรวจพิเศษจากปัสสาวะ (URINE MICROALBUMIN) 
ซึ่งจะเป็นตัวบอกเหตุได้เร็วที่สุดถ้าเกิดปัญหาแทรกซ้อนที่ไต ทำให้ป้องกันปัญหาลุกลามได้แต่เนิ่นๆ 
การตรวจเลือดเพื่อประเมินการทำงานของไตปีละครั้ง 
และการพบแพทย์โรคไตก็อาจจะจำเป็นในบางกรณี

ตา ผู้ป่วยเบาหวานมีโอกาสเกิดโรคที่ตาง่ายกว่าผู้ป่วยที่ไม่เป็นเบาหวาน เช่น ต้อกระจก กระจกตาถลอก 
และที่สำคัญ คือ เบาหวานเข้าจอประสาทตา
เป็นสาเหตุสำคัญของตาบอด 

ผู้ป่วยเบาหวานจึงควรพบจักษุแพทย์ อย่างน้อยปีละครั้ง 
เพื่อขยายม่านตา ตรวจจอประสาทตาโดยละเอียด

การรักษาด้วยเลเซอร์ เมื่อพบความผิดปกติที่สำคัญ
จะลดการสูญเสียการมองเห็นได้มากกว่าครึ่ง

เท้า ผู้ป่วยเบาหวานเกิดแผลที่เท้า 15% ตลอดชั่วชีวิต 
แผลอาจเกิดโดยไม่รู้สึกตัว และใช้เวลารักษานาน

นอกจากนี้โอกาสถูกตัดเท้าสูงกว่าผู้ป่วยที่ไม่เป็นเบาหวาน 
15-46 เท่า การตรวจเท้าอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 
โดยแพทย์ที่ชำนาญเพื่อประเมินความเสี่ยง 
จะทำให้ดูแลเท้าได้อย่างรอบคอบ 
ป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้นกับเท้าได้มากกว่าครึ่ง

การตรวจสุขภาพเท้าประกอบด้วย

1. ประเมินผิวหนัง รอยช้ำและรูปร่างเท้า

2. ตรวจสอบประสาทสัมผัส

3. ตรวจหาจุดรับน้ำหนักที่เสี่ยงต่อการเกิดปัญหา

ระบบหลอดเลือด การตรวจความผิดปกติของหลอดเลือดขนาดใหญ่ โดยการใช้เครื่องวัด ABI (Ankle-Brachial Index) 
ช่วยบ่งชี้ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ อัมพาต

อัมพฤกษ์ ซึ่งเมื่อพบความผิดปกติ 
สามารถพิจารณาให้ยาเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยง

ข้อบ่งชี้ในการตรวจวัด ABI

1. เป็นเบาหวานอายุมากกว่า 50 ปี

2. เป็นเบาหวานอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 50 ปี ร่วมกับ

- เป็นเบาหวานนานเกิน 10 ปี

- สูบบุหรี่ ไขมันในเลือสูง ความดันโลหิตสูง

เป้าหมายที่ควรควบคุมให้ได้

1. FPG < 120 น้ำตาลตอนเช้าก่อนอาหาร
ควรต่ำกว่า 120 มก.%

2. HbA1C < 7 ค่าเฉลี่ยน้ำตาลสะสม (ตรวจทุก 3-6 เดือน) 
ควรน้อยกว่า 7% แสดงถึงว่าควบคุมเบาหวานได้ดี
เสมอต้นเสมอปลาย

3. CHOLESTEROL < 200 ; 
TRIGLYCERIDE < 150 ; 
HDL > 40 ; 
LDL < 100

ระดับไขมันในเลือด ควรดูแลให้
คอเลสเตอรอลน้อยกว่า 200 มก.% 
ไตรกลีเซอไรด์น้อยกว่า 150 มก.% 
ไขมันดี (เอชดีแอล) มากกว่า 40 มก.% 
และไขมันร้าย (แอลดีแอล) น้อยกว่า 100 มก.%

เพื่อลดโอกาสการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
และเส้นเลือดสมองตีบ

4. BMI < 25 น้ำหนักตัวต้องไม่มากเกิน คือ BODY MASS INDEX น้อยกว่า 25 กิโลกรัม น้ำหนักตัวหารด้วยส่วนสูงเป็นเมตรยกกำลังสอง

5. BP < 130/80 mm. Hg ปกติความดันโลหิตสูงไม่ควรเกิน 140/90 mm. Hg ในผู้ป่วยเบาหวานพบว่า ถ้าต่ำกว่า 130/80 mm.Hg จะเกิดผลดีกว่า เพราะลดโอกาสเกิดไตเสื่อม

6. NO SMOKING บุหรี่มีผลเสียทุกมวนที่สูบ ทำให้เส้นเลือดหัวใจสมองเสื่อมเพิ่มขึ้น ผู้ป่วยเบาหวานต้องไม่สูบบุหรี่

เป้าหมายที่ควรควบคุมให้ได้

1. FPG < 120

2. HbA1C < 7

3. CHOLESTEROL < 200 ; 
TRIGLYCERIDE < 150 ; 
HDL > 40 ; LDL < 100

4. BMI < 25

5. ความดันโลหิต < 130/80 mm. Hg

6. NO SMOKING

เครดิตจาก bangkokhealth

UMI ดูแลลึกถึง Hba1C ศึกษาเพิ่มเติมได้ http://bit.ly/agel-umi-baowan

==============
ไม่อยากทานยาเบาหวานตลอดชีวิต
ต้องลดและดูแลน้ำตาลสะสมให้ลดลง

ดูแลเองมานานไม่ลดลงสักที
ปรึกษา ได้ที่

ผู้เชี่ยวชาญ คุณจอยริน

โทร 062-636-9495 


Line : @gelsociety


สั่งซื้อ ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ คุณจอยริน

คลิ๊กได้ที่ลิงค์เพื่อแอดไลน์อัตโนมัติเลยค่ะ http://bit.ly/gelsociety


วันเสาร์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

การดูแลสุขภาพเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน

เบาหวานเสี่ยงเท้าเน่า 6 ข้อถนอมเท้า  

1. หมั่นทำความสะอาดเท้าทุกวันและเช็ดให้แห้งทันที เพราะถ้าปล่อยให้เท้าแห้งเอง เท้ามักจะแห้งกว่าปกติ อาจเกิดแผลได้ง่าย 

2. สำรวจเท้าอย่างละเอียดทุกวัน โดยเฉพาะบริเวณซอกระหว่างนิ้วเท้า

3. หากผิวแห้งควรทาครีมบางๆแต่ไม่ควรทาโดยตรงบริเวณซอกระหว่างนิ้วเท้า เพราะซอกระหว่างนิ้วเท้าเป็นจุดอับชื้น อาจเกิดเชื้อราได้ง่าย 

4. หากมีอาการเท้าเย็นเวลากลางคืนควรสวมถุงเท้าเท่านั้น ห้ามใช้กระเป๋าน้ำร้อนหรือแช่เท้าในน้ำร้อนเป็นอันขาดเพราะผู้ป่วยมีโอกาสโดนน้ำร้อนลวกโดยไม่รู้ตัว 

5. เลือกรองเท้าที่เหมาะสมกะบรูปเท้า ไม่คับไม่หลวม

6. อย่าลืมนัดสำคัญกับแพทย์ และหากพบอาการผิดปกติเพียงเล็กน้อย
ควรรีบปรึกษาแพทย์เพื่อในการตรวจวินิจฉัยทันที

https://www.youtube.com/watch?v=xpqqXxfYj5c&feature=youtu.be